บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2017

Review : หนังสือการตลาด 4.0

รูปภาพ

VIDEO : Present Advertising

รูปภาพ

บทที่ 1 ภาพรวมเกียวกับการตลาด (Final)

รูปภาพ

บทที่ 11 Review : Strategic Marketing

รูปภาพ
Strategic Marketing Conceptual Framework  กรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ได้จากทบทวนวรรณกรรมของนักวิจัยในอดีต ได้แก่ Kotler ( 2000); Kotler  ( 2003); Kriemadis & Terzoudis (2007); Ayub &  Razzaq (2013); Iyamabo & Otubanjo (2013) พบว่า แรง กดดันจากสภาพแวดล้อม ( Environment Pressure ) ส่งผลทางตรงต่อการตลาดเชิงกลยุทธ์ ( Strategic Marketing )  ขณะที่การตลาดเชิงกลยุทธ์ ( Strategic Marketing ) ส่งผลทางตรงต่อการประเมินผลการดำเนินงานทางการตลาด  ( Marketing Evaluation ) โดยการทบทวนและการควบคุมแผนการดำเนินงานทางการตลาด ( Marketing Review  and Control ) ส่งผลร่วมต่อการประเมินผลการดำเนินงานทางการตลาด ( Marketing Evaluation ) ทั้งนี้สามารถอธิบายความหมายขององค์ประกอบแต่ละตัวแปรได้ดังนี้ •         แรงกดดันจากสภาพแวดล้อม ( Environment Pressure ) ประกอบด้วย ( External Environment ) 2 องค์ประกอบ ได้แก่ ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก และ ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ( Internal Environment ) •    ...

บทที่ 8 Review : Sales Force

รูปภาพ
Conceptual Framework for sales force     จากการรีวิวบทความที่เกี่ยวข้องจึงสรุปได้ว่า การที่จะทำให้มีประสิทธิภาพในการขายของพนักงานขาย ประกอบไปด้วยตัวแปรดังนี้คือ การสื่อสาร ความสามารถ ทักษะ และจริยะธรรม เครดิต  พระมหาวันเฉลิม ประภัสสร

บทที่ 5 Review : Product

รูปภาพ
Review :  Product             กรอบแนวคิด (Conceptual Framework) ที่นำเสนอภายใต้หัวข้อเรื่องผลิตภัณฑ์(Product)ที่จะนำเสนอนี้เป็นเรื่องของ Green Innovation หรือนวัตกรรมสีเขียว ตัวแปรหลักของเราคือ สมรรถนะของนวัตกรรมสีเขียว (Green Innovation) ซึ่งมีตัวแปรต้นที่เป็นสาเหตุ คือ ความมุ่งมั่นในด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัท (Corporate Environmental Commitment) ส่วนตัวแปรตาม ที่เป็นผลลัพธ์ที่สามารถวัดค่าได้ของ Green Innovation มี 3 อย่าง ได้แก่ 1.ความได้เปรียบทางการแข่งขัน (Competitive Advantage) 2.ผลประกอบการทางการเงิน (Financial Performance) 3.ผลประกอบการทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Performance) เครดิต ทรงกลด พลพวก %%%%%%%%%%%%%%%%% Product Conceptual Framework                   ตัวแปรหลักคือ สมรรถนะของนวัตกรรมสีเขียว ( Green Innovation)               ซึ่งมีตัวแปรต้นที่เป็นสาเหตุ คือ ความมุ่งมั่นในด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัท ( Corporat...

บทที่4 Review :Price

รูปภาพ
Review :Price               Conceptual Framework  จะเป็นเรื่องของ "ขีดความสามารถในการกำหนดราคาขององค์กร" หรือ "Pricing Capabilities" ที่จะเป็นตัวแปรที่นำไปสู่ผลงานขององค์กร (Firm Performance) ที่ดียิ่งขึ้น  โดยมีรายละเอียดดังรูปนี้ จากที่ข้าพเจ้าได้ทบทวนวรรณกรรมมา พบว่า มี 4 ปัจจัยสาเหตุหรือตัวแปรต้นที่จะนำไปสู่ ขีดความสามารถในการกำหนดราคาขององค์กร (Pricing Capabilities) ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ 1.การแบ่งแยกราคา (Pricing Discrimination)        หมายถึง ความสามารถของบริษัทในการกำหนดราคาสินค้าหรือบริการให้แตกต่างกันไปโดยขึ้นกับประเภทกลุ่มของลูกค้า หรือขึ้นกับช่วงเวลาที่แตกต่างกัน 2.การมุ่งเน้นพลวัตรหรือความเปลี่ยนแปลง (Dynamic Orientation)        หมายถึง การให้ความสำคัญในการวางแผนและการปรับตัวทางราคา ให้เข้ากับพลวัตรหรือการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม 3.การส่งมอบทางคุณค่า (Value Delivery)         หมายถึง ความสามารถที่เหนือกว่าของบริษัทในการส่งมอบคุณค่าของสินค้าหรือบริการให้...

บทที่ 3 REVIEW: ORGANIZATIONAL BUYING MODELS

รูปภาพ
REVIEW: ORGANIZATIONAL BUYING MODELS REVIEW: ORGANIZATIONAL BUYING MODELS รูปแบบพฤติกรรมของผู้ซื้ออุตสาหกรรม จากการทบทวนวรรณกรรม โดยสรุปผู้วิจัยให้ความหมายของคำว่า รูปแบบการจัดซื้อขององค์กร หมายถึง กลุ่มบุคคล หรือองค์กรที่ซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อการผลิต การอุตสาหกรรม การให้บริการ การดำเนินงานของกิจการ หรือเพื่อขยายต่อพฤติกรรมการซื้อของตลาดองค์กร ใน 2 ตลาด คือ ตลาดอุตสาหกรรมหรือตลาดผู้ผลิต และตลาดคนกลางเพื่อนำสินค้าไปจำหน่ายต่อ รูปแบบพฤติกรรมการซื้อขององค์การในอุตสาหกรรมของ Sheth model ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ 1. จิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการตัดสินใจซื้อของบุคคล คือแนวคิดเกี่ยวการคาดหวัง ซึ่งได้กำหนดทัศนคติที่มีต่อผู้จำหน่ายหรือแบรนด์ที่ตอบสนองความพึงพอใจที่เกิดจากสถานการณ์ที่ต้องการซื้อ 2. เงื่อนไขสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ การร่วมตัดสินใจ บอกถึงความแตกต่างระหว่างการตัดสินใจของบุคคล กับการตัดสินใจร่วมกันของกลุ่ม 3. เมื่อกระบวนการซื้อมาถึงการตัดสินใจร่วมกัน ซึ่งอาจมีความเห็นที่แตกต่างเกิดขึ้น  Sheth แสดงให้เห็นถึงปัจจัยของสถานการณ์ที่มีส่วนผลักดันให้เกิดการต...

Sheth’s model

รูปภาพ
รูปแบบพฤติกรรมของผู้ซื้อภาคอุตสาหกรรม บทความนี้มีวัตถุประสงค์  เพื่ออธิบายถึงรูปแบบของพฤติกรรมของผู้ซื้อภาคอุตสาหกรรม ( organizational ) รวมทั้ง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ซื้อองค์กรแล้ว ซึ่ง สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท 1. การวิจัยเชิงประจักษ์เชิงระบบเกี่ยวกับนโยบายการซื้อและการปฏิบัติของตัวแทนจัดซื้อและผู้ซื้อองค์กรอื่น ๆ เป็นจำนวนมาก 2. การรวบรวมรายงานอุตสาหกรรมและข้อสังเกตของผู้ซื้อในอุตสาหกรรม 3. บทความที่วิเคราะห์ทฤษฎีสร้างแบบจำลองและบางครั้งรายงานเกี่ยวกับกิจกรรมการซื้อสินค้าอุตสาหกรรม                   ซึ่งสิ่งที่ต้องการในบทความนี้การผสมผสานของความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่ให้เข้ากับรูปแบบพฤติกรรมของผู้ซื้อองค์กรที่สมจริงและครบถ้วน   หวังว่ารูปแบบที่ได้อธิบายไว้ในบทความนี้จะเป็นประโยชน์ดังต่อไปนี้ ประการแรก เพื่อขยายวิสัยทัศน์ของการวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ซื้อในองค์กร เพื่อให้องค์ประกอบดังกล่าวมีองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด ประการที่สอง เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวเ...